<Jaturapad>

การศึกษาในศตวรรษที่ 21

Education

เเนวทางการพัฒนาสมรรถนะผู้เรียน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

สารบัญ

คำนำ

คำชี้แจง

ส่วนที่ ๑ เกริ่นนำความคิด

ส่วนที่ ๒ กรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และกรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียน ระดับประถมศึกษาตอนต้น (ป.๑ – ๓)

  • ๑. ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร (Thai Language for Communication)
  • ๒. คณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวัน (Mathematics in Everyday Life)
  • ๓. การสืบสอบทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ (Scientific Inquiry and Scientific Mind)
  • ๔. ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร (English for Communication)
  • ๕. ทักษะชีวิตและความเจริญแห่งตน (Life Skills and Personal Growth)
  • ๖. ทักษะอาชีพและการเป็นผู้ประกอบการ (Career Skills and Entrepreneurship)
  • ๗. ทักษะการคิดขั้นสูงและนวัตกรรม (Higher – Order Thinking Skills and Innovation)
  • ๘. การรู้เท่าทันสื่อสารสนเทศและดิจิทัล (Media,Information and Digital Literacy : MIDL)
  • ๙. การทำงานแบบรวมพลังเป็นทีมและมีภาวะผู้นำ (Collaboration Teamwork and Leadership)
  • ๑๐. การเป็นพลเมืองที่เข้มเเข็ง/ตื่นรู้ที่มีสำนึกสากล (Active Citizen with Global Mindedness)

ส่วนที่ ๓ แนวทางในการพัฒนาสมรรถนะผู้เรียน

  • ๓.๑ แนวทางการพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะหลักผ่านกลุ่มสาระการเรียนรู้
  • ๓.๒ แนวทางการนำกรอบสมรรถนะหลักสู่การพัฒนาผู้เรียน
  • แนวทางที่ ๑ : ใช้งานเดิม เสริมสมรรถนะ
  • แนวทางที่ ๒ : ใช้งานเดิม ต่อเติมสมรรถนะ
  • แนวทางที่ ๓ : ใช้รูปแบบการเรียนรู้ สู่การพัฒนาสมรรถนะ
  • แนวทางที่ ๔ : สมรรถนะเป็นฐาน ผสานตัวชี้วัด
  • แนวทางที่ ๕ : บูรณาการ ผสานหลายสมรรถนะ
  • แนวทางที่ ๖ : สมรรถนะชีวิต ในกิจวัตรประจำวัน

ภาคผนวก

[pdf-embedder url=”http://www.jaturapad.com/wp-content/uploads/2019/08/เเนวทางการพัฒนาสมรรถนะผู้เรียน-ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน.pdf” title=”เเนวทางการพัฒนาสมรรถนะผู้เรียน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน”]

 

 

ที่มา: 

  • สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2562). เเนวทางการพัฒนาสมรรถนะผู้เรียน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน. สืบค้นเมื่อ 14 สิงหาคม 2562. จาก http://www.onec.go.th/index.php/book/BookView/1686.